![]() ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Carmonretusa(Vahl) Masam. ชื่อวงศ์ Boraginceae ชื่อสามัญ – ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ชาดัดใบมัน ข่อยจีน ชาญวน ถิ่นกำเนิด มีถิ่นดั้งเดิมอยู่ในประเทศจีนและแอฟริกาเหนือ การกระจายพันธุ์ : ในประเทศไทย ในประเทศอื่น ๆ นิเวศวิทยา เวลาออกดอก หมุนเวียนตลอดปี เต็มที่เดือนสิงหาคม-ตุลาคม เวลาติดผล สิงหาคม-ตุลาคม การขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด และการปักชำกิ่ง การใช้ประโยชน์ สรรพคุณทางยา ราก บำรุงสตรีหลังคลอด แก้น้ำเหลืองเสีย ถอนพิษ ใบ ใช้ขับเหงื่อ แก้ท้องเสีย แก้ไอ และบำรุงธาตุ งานด้านภมิทัศน์ ปลูกเป็นแปลงทำเป็นแนวรั้ว ตัดแต่งทำเป็นไม้ดัดบอนไซ ปลูกริมทางเดิน ริมน้ำตก ริมทะเล เพราะทนน้ำท่วม ประวัติพันธุ์ไม้(การนำมาปลูกในประเทศไทย) ในประเทศไทย เริ่มมีการปลูกในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายแต่ไม่แพร่หลายนัก ลักษณะวิสัย : ไม้พุ่ม เรือนยอด ทรงพุ่ม : รูปร่ม ความสูง 1 ม. ความกว้างทรงพุ่ม 1 ม. ถิ่นอาศัย : พืชบก ชนิดของลำต้น : ลำต้นเหนือดิน ตั้งตรงเองได้ เปลือกลำต้น : สีน้ำตาล ลักษณะ ขรุขระ ยาง : ไม่มี ชนิดของใบ : ใบประกอบ แบบขนนก : ขนนกปลายคี่ สี เขียว ขนาดแผ่นใบกว้าง 0.5-2 ซม. ยาว 1-4 ซม. ลักษณะพิเศษของใบ เป็นใบเดี่ยวติดสลับ การเรียงตัวของใบบนกิ่ง : สสับ รูปร่างแผ่นใบ : รูปไข่กลับ ปลายใบ : ตัด โคนใบ : รูปลิ่ม ขอบใบ : เรียบ ชนิดของดอก : ดอกช่อ ช่อกระจุก ตำแหน่งที่ออกดอก : ซอกใบ กลีบเลี้ยง : แยกจากกัน มีจำนวน 5 กลีบ สี ขาว กลีบดอก : แยกจากกัน มีจำนวน 5 กลีบ สี ขาว รูปกากบาท กลิ่น : ไม่มี ชนิดของผล : ผลเดี่ยว ผลมีเนื้อถึงหลายเมล็ด สีของผล : ผลอ่อนสี : ส้มแดง รูปร่างผล : กลม เมล็ด : จำนวนเมล็ด 4:1 รูปร่างเมล็ด : กลม
แหล่งข้อมูล https://sites.google.com/site/cwk270755/cha-hkkeiyn |